• คอร์สออนไลน์

    การวัดสีและความเงาสำหรับสีรถยนต์ภายนอก

          ก่อนหน้าเราได้มีการจัดการสัมมนาออนไลน์ ผ่าน Ms Team ในหัวข้อ “การวัดสีและความเงาสำหรับสีรถยนต์ภายนอก (Automotive – Exterior Color Measurement)” เป็นการบรรยายเกี่ยวกับการวัดสีสำหรับยานยนต์โดยเฉพาะ ซึ่งมีหัวข้อการบรรยายดังนี้ ความรู้พื้นฐานสำหรับการวัดสีและหน่วยวัดสี การวัดค่าสี Solid vs. Metallic การเลือกใช้ Gloss meter และเทคโนโลยีทางเลือกสำหรับตรวจสอบพื้นผิวชิ้นงาน Q&A (คำถามจากผู้ลงทะเบียนรอบบรรยายสด) เนื้อหานี้เหมาะสำหรับผู้ใช้งานหรือผู้สนใจ ในการวัดสี ในอุตสาหกรรมยานยนต์โดยเฉพาะเนื้อหามีการพูดตั้งแต่พื้นฐาน ดังนั้นทุกคนสามารถเข้าฟังได้ ขั้นตอนการเข้าดูบันทึกบรรยาย 1.กรอกแบบฟอร์ม   คลิกที่ลิ้งค์นี้  2.หลังจากกดส่งแบบฟอร์ม มีลิ้งค์วิดีโอ ท้ายแบบฟอร์ม เนื่องจากไม่ใช่การบรรยายสด หากมีข้อซักถาม สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางการติดต่อด้านล่างค่ะ     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา      ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected] เบอร์ 02-361-3730  Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน QR code ด้านข้างนี้ค่ะ สามารถติดตามช่องYoutubeของเราเพื่อรับชมวิดีโอการสาธิตเครื่องมือ และการแนะนำการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเครื่องวัดสี

  • คอร์สออนไลน์

    ข้ออควรระวังในการใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องวัดสีรุ่น CR-400 เพื่อประสิทธิภาพในการวัด

          ก่อนหน้าเราได้มีการจัดการสัมมนาออนไลน์ ผ่าน MS Team ในหัวข้อ “ข้อควรระวังในการใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องวัดสีรุ่น CR-400 เพื่อประสิทธิภาพในการวัด” เป็นการบรรยายเกี่ยวกับการใช้งานเครื่องวัดสี ยอดนิยมอย่างรุ่น CR-400 มีหลายครั้งที่เราได้รับการติดต่อเกี่ยวกับปัญหาการใช้งาน ซึ่งปัญหาต่างๆสามารถแก้ไขได้ด้วยการใช้งานที่ถูกต้อง โดยมีหัวข้อการบรรยายดังนี้ ข้อควรระวัง เพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการใช้งาน วิธีการใช้งานเครื่องอย่างถูกต้อง เพื่อยืดอายุการใช้งาน วิธีการดูแลรักษาเครื่อง เพื่อคงประสิทธิภาพในการวัด การสอบเทียบ และการประเมินผล Q&A เนื้อหานี้เหมาะสำหรับผู้ใช้งานเครื่องวัดสี รุ่น CR-400 การใช้งานที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็น เพื่อการยืดอายุการใช้งาน ขั้นตอนการเข้าดูบันทึกบรรยาย 1.กรอกแบบฟอร์ม   คลิกที่ลิ้งค์นี้  2.หลังจากกดส่งแบบฟอร์ม มีลิ้งค์วิดีโอ ท้ายแบบฟอร์ม โปรดสังเกตุใต้คลิปวิดีโอมีสไลด์การบรรยายใต้คลิปค่ะ  เนื่องจากไม่ใช่การบรรยายสด หากมีข้อซักถาม สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางการติดต่อด้านล่างค่ะ     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา      ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected] เบอร์ 02-361-3730  Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน QR code ด้านข้างนี้ค่ะ สามารถติดตามช่องYoutubeของเราเพื่อรับชมวิดีโอการสาธิตเครื่องมือ และการแนะนำการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเครื่องวัดสี

  • คอร์สออนไลน์

    ประเภทของเครื่องวัดสีและวิธีการเลือกใช้

          ก่อนหน้าเราได้มีการจัดการสัมมนาออนไลน์ ผ่าน Zoom ในหัวข้อ “ประเภทของเครื่องวัดสีและวิธีการเลือกใช้ : Color Instrumentation and Application” เป็นการบรรยายเกี่ยวกับประเภทของเครื่องวัดสี และการเลือกใช้เครื่องวัดสีให้เหมาะกับงานของคุณ เนื้อหาในการบรรยายเราหวังว่าจะสามารถช่วยคุณในการเลือกเครื่องวัดสีที่เหมาะกับงานของคุณได้ โดยมีหัวข้อการบรรยายดังนี้ ประเภทของเครื่องวัดสี แบ่งตามชนิดของ Sensor แบ่งตามลักษณะของ Geometries Geometries กับพื้นผิวต่างๆ 45/0 d/0 d/8(SCI&SCE) ปรากฎการณ์เมทาเมอริซึม(Metamerism) วิธีการเลือกใช้เครื่องวัดสี เนื้อหานี้เหมาะสำหรับทุกคน ที่สนใจหรือผู้ที่กำลังมองหาเครื่องวัดสีสำหรับการวัดค่าสี ขั้นตอนการเข้าดูบันทึกบรรยาย 1.กรอกแบบฟอร์ม   คลิกที่ลิ้งค์นี้  2.หลังจากกดส่งแบบฟอร์ม มีลิ้งค์วิดีโอ ท้ายแบบฟอร์ม 3.ทำแบบทดสอบความเข้าใจ โปรดสังเกตุใต้คลิปวิดีโอมีสไลด์การบรรยายและแบบทดสอบ 4.รอรับประกาศนียบัตร เมื่อผ่าน 70% ขึ้นไป เนื่องจากไม่ใช่การบรรยายสด หากมีข้อซักถาม สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางการติดต่อด้านล่างค่ะ     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา      ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected] เบอร์ 02-361-3730  Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน QR code ด้านข้างนี้ค่ะ สามารถติดตามช่องYoutubeของเราเพื่อรับชมวิดีโอการสาธิตเครื่องมือ…

  • คอร์สออนไลน์

    ความรู้พื้นฐานสำหรับการวัดสี

          ก่อนหน้าเราได้มีการจัดการสัมมนาออนไลน์ ผ่าน Zoom ในหัวข้อ “ความรู้พื้นฐานสำหรับการวัดสี Colorimetric Science And Assessment The Fundamentals” เป็นการบรรยายเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของสี  ซึ่งการสัมมนาครั้งนี้ได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมมาก และเนื้อหาในการบรรยายเป็นความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการเลือกใช้เครื่องวัดสี เราจึงได้นำบันทึกบรรยายสดในสัมมนาออนไลน์ในหัวข้อนี้ นำมาเผยแพร่ให้ผู้สนใจ โดยมีหัวข้อการบรรยายดังนี้ เรารับรู้เห็นสีได้อย่างไร ? ปัจจัยที่มีผลต่อการเห็นสีของสายตา การสื่อสารสีอย่างมีมาตรฐาน หน่วยสี ชนิดเครื่องวัดสี ตัวอย่างการวัดสี เนื้อหานี้เหมาะสำหรับทุกคน เนื่องจากเป็นการปูพื้นฐานในเรื่องของสี  ขั้นตอนการเข้าดูบันทึกบรรยาย 1.กรอกแบบฟอร์ม   คลิกที่ลิ้งค์นี้  2.หลังจากกดส่งแบบฟอร์ม มีลิ้งค์วิดีโอ 3.ทำแบบทดสอบความเข้าใจ *โปรดสังเกตุรายละเอียดใต้คลิปวิดีโอ* 4.รอรับประกาศนียบัตร เมื่อผ่าน 70% ขึ้นไป เนื่องจากไม่ใช่การบรรยายสด หากมีข้อซักถาม สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางการติดต่อด้านล่างค่ะ     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา      ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected] เบอร์ 02-361-3730  Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน QR code ด้านข้างนี้ค่ะ สามารถติดตามช่องYoutubeของเราเพื่อรับชมวิดีโอการสาธิตเครื่องมือ และการแนะนำการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเครื่องวัดสี

  • บทความ

    ชุดโกโกวา สีเพี้ยนรึเปล่า ? เช็คยังไงนะ ?

       มาแล้วลูกจ๋า ชุดโกโกวาที่หนูอยากได้ โกโกวาที่หนูอยากใส่ โก โกวาคิมิซึนิดา (เนื้อเพลง ชุดโกโกวา Tongtang Family TV)            ในเวลานี้หลายๆคนคงกำลังมองหาชุดโกโกวาสักชุดมาใส่เพื่อไม่ให้ตกเทรนด์กัน ซึ่งสีของชุดก็มีความสำคัญ คงไม่มีใครอยากได้ชุดที่สีเพี้ยนไป หรือสีที่ไม่สม่ำเสมอใช่ไหมคะ การวัดสีเสื้อผ้าสามารถวัดสีเสื้อผ้าทั้งที่ตัดเย็บเสร็จแล้ว โดยนำเครื่องวัดสีวัดสีที่ชุดได้เลย ไม่จำเป็นต้องตัดชิ้นตัวอย่าง ทำให้ไม่ทำลายเนื้อผ้า หรือหากต้องการวัดสีตั้งแต่ชิ้นงานที่เป็นเส้นใย รายละเอียดวิธีการเตรียมตัวอย่างสำหรับการวัดสีของสิ่งทอ เส้นใย สามารถอ่านที่ลิ้งค์นี้คลิก เครื่องวัดสีสำหรับการวัดเส้นใย เสื้อผ้า ในบทความจะมีเครื่องวัดสีรุ่นที่จะแนะนำเพื่อช่วยเป็นแนวทางในการตัดสินใจเลือกเครื่องวัดสีที่เหมาะกับตัวอย่างของคุณมากที่สุด            ขอแนะนำเครื่องวัดสีรุ่นใหม่ล่าสุดจาก Konica Minolta ซึ่งเป็นเครื่องวัดสีแบบ Spectrophotometer รุ่น CM-26dG มีค่า inter- inter-instrument agreement (IIA) ที่ dE*ไม่เกิน 0.12 แล้วค่านี้ ดียังไง ค่านี้จะทำให้มั่นใจค่าสีที่ใช้ร่วมกันระหว่างกัน เช่น designer จากเกาหลีส่งสเปคมาให้โรงงานในไทยก็วัดค่าสีได้เหมือนกัน ตัวเครื่องวัดสี มี view…

  • บทความ

    เรื่องที่ต้องรู้ เมื่อต้องการวัดค่าสีหรือบอกปริมาณสี

               สีเป็นสิ่งที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า หรือการประเมินคุณภาพของสินค้าหรือตรวจสอบคุณภาพ และหลายคนอาจจะยังมีความเข้าใจไม่เพียงพอ บทความนี้เราจะขอแนะนำสิ่งที่จำเป็นต้องรู้ เมื่อต้องการบอกปริมาณสีหรือวัดค่าสี นั่นคือ แหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant) , มาตรฐานการมอง (Observer) 2o หรือ 10o  , มาตรฐานวีธีวัดค่า (Measurement Method) เรามาทำความเข้าใจองค์ประกอบทั้งสามส่วนนี้ โดยเริ่มจาก  แหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant) ว่าแต่ละชนิดหมายถึงแสงลักษณะใด เพื่อให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม   มาตรฐานแหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant)  ชื่อของแหล่งกำเนิด อุณหภูมิของสี (Color Temp : K) คำอธิบาย D65 6504 K CIE Standard Illuminant D65 เป็นตัวแทนของแสงอาทิตย์เฉลี่ยรวมรังสี UV D50 5003 K…

  • บทความ

    เลือกภาชนะใส่ตัวอย่างให้เหมาะกับตัวอย่างสำหรับงานวัดสี

              เครื่องวัดสีเป็นเป็นเครื่องมือวัดที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น ทั้งภาคอุตสาหกรรมหรืองานวิจัยด้านต่างๆ ซึ่งตัวอย่างที่วัดสี ก็มีความหลากหลายยิ่งกว่า ทั้งสถานะและลักษณะทางกายภาพของตัวอย่าง การเลือกใช้ภาชนะใส่ตัวอย่างมีเกณฑ์การเลือกที่สอดคล้องกับการเลือกเครื่องวัดสี          สำรวจลักษณะตัวอย่าง ความโปร่งแสง / ทึบแสง หรือลักษณะตัวอย่างเป็น ของเหลว ของแข็ง รวมไปถึงขนาดของตัวอย่าง ยกตัวอย่างเช่น เม็ดพลาสติก, ผงเครื่องปรุงต่างๆ, แป้ง, ครีม, ซอส, น้ำ หรือของเหลวอื่นๆ ตัวอย่างเหล่านี้จำเป็นต้องวัดผ่านภาชนะใส่ตัวอย่าง เพื่อผลที่ถูกต้องแม่นยำและป้องกันความเสียหายต่อเครื่องวัดสี ในกรณีที่ตัวอย่างหกหรือล่วงหล่น เข้าไปภายในตัวเครื่องวัดสี ในปัจจุบันอาจจะมีหลายท่านที่ใช้ ถุงพลาสติกใส่ตัวอย่างแล้ววัดสีตัวอย่างผ่านถุงพลาสติกนั้น แม้จะสามารถทำได้แต่เป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมเท่าไรนัก หากต้องการค่าสีที่ถูกต้องแม่นยำ เนื่องจากถุงพลาสติกแต่ละชิ้น มีความหนา ความใส หรือแม้แต่เฉดสีต่างกัน หากกำลังคิดว่า “งั้นก็ใช้ถุงจากห่อเดียวกัน lotผลิตเดียวกัน” แต่ถุงเหล่านั้นเป็นสิ่งที่ใช้แล้วทิ้ง เมื่อหมดถุงเหล่านั้นก็ไม่ได้เหมือนกัน หากจะทำความสะอาดล้างถุง แน่นอนว่าคราบหรือรอยของถุงจะเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการวัดอย่างแน่นอน         หากไม่ใช้พลาสติก ส่วนใหญ่จะนิยมใส่ใน Petri dish หรือ Glass…

  • บทความ

    เครื่องวัดสีช่วยเช็คความบริสุทธิ์ในของเหลวได้ อย่างไร

             บทความนี้ขอยกตัวอย่างวงการเภสัชกรรมเพื่อให้เห็นภาพชัด ในวงการเภสัชกรรมที่จำเป็นต้องมีการประเมินสารประกอบของยาเหลวและตรวจหาสิ่งเจือปน ในแต่ละขั้นตอนแน่นอนว่าผลที่ได้ต้องแม่นยำและถูกต้อง หากใช้สายตาในการประเมินสีของของเหลว นอกจากจำเป็นจะต้องใช้คนที่มีประสบการณ์สูงในการประเมินสีแต่วิธีนี้มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการประเมินสีมาก (อ่านปัจจัยในการประเมินสีด้วยสายตา) ในหลายๆที่หันมาใช้เครื่องวัดสีเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการประเมินสีเพื่อเช็คความบริสุทธิ์ในของเหลว เนื่องจากมีความแม่นยำ ถูกต้อง และรวดเร็วมากกว่า การใช้สายตาประเมินสี         นอกจากเครื่องวัดสีแล้ว ดัชนี APHA คิดค้นโดยนักเคมีชื่อ A. Hazen ในปี 1892 ซึ่งเป็นที่นิยมนำมาใช้ในประเมินความบริสุทธิ์ของของเหลว ในปัจจุบัน หลายอุตสาหกรรม รวมถึงเภสัชกรรม เคมี ปิโตรเลียม ใช้เครื่องวัดสีและใช้ดัชนี APHA เป็นแนวทางและมาตรวัดสี         ดัชนี APHA หรือเรียกอีกอย่างว่าสเกล Hazen หรือ Platinum Cobalt (Pt/Co) เป็นสเกลสีตัวเลขเดียวที่มีตั้งแต่ 0 (ไม่มีสีชัดเจน) ถึง 500 (สีเหลืองอ่อน) ซึ่งเดิมทีได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นการประเมินคุณภาพน้ำด้วยการประเมินด้วยสายตาโดยเปรียบเทียบกับการเจือจางของสารละลายมาตรฐานทองคำขาว – โคบอลต์   อ่านเพิ่มเติม การใช้…

  • บทความ

    ทำความรู้จัก Zero calibration box

                Zero calibration box อุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบเทียบเครื่องวัดสี ซึ่งโดยปกติแล้วเครื่องวัดสีจำเป็นต้องการสอบเทียบก่อนการใช้งานทุกครั้ง เพื่อเตรียมเครื่องให้พร้อมสำหรับการใช้งาน ซึ่งการสอบเทียบก่อนการใช้งานเป็นการสอบเทียบเป็นการสอบเทียบรายวันที่ผู้ใช้งานสามารถทำได้ด้วยตัวเอง โดยทำการสอบเทียบด้วย White calibration plate และ Zero calibration box (อ่านความแตกต่างระหว่างการสอบเทียบรายวันและการสอบเทียบประจำปี คลิกที่นี้) ทำไมการสอบเทียบก่อนใช้งานจึงจำเป็น เนื่องจากสภาพแวดล้อมโดยรอบที่เครื่องติดตั้งอยู่ รวมถึงอุณหภูมิและความชื้นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดในแต่ละวัน การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการวัดของเครื่อง ดังนั้นการสอบเทียบก่อนการใช้งานจึงเป็นการเตรียมพร้อมให้เครื่องวัดสีกลับสู่สภาพการทำงานที่เหมาะสม และจะให้การวัดได้ค่าที่สม่ำเสมอ หากไม่มี Zero calibration box ต้องทำอย่างไร เมื่อการสอบเทียบเป็นเรื่องที่จำเป็น อุปกรณ์ที่ใช้สอบเทียบจึงจำเป็นเช่นกัน แต่หากไม่มี Zero calibration box สามารถทำ zero calibration โดยมีหันรูรับแสงไปในทิศทางที่ไม่มีสิงกีดขวางในระยะ 1 เมตร, ไม่หันเข้าหาแหล่งกำเนิดแสง เช่นหลอดไฟ, จอมอนิเตอร์ และกระจก   ปัจจุบันทีมเซอร์วิสของเราพบว่าผู้ใช้งานเครื่องวัดสีส่วนใหญ่ทำสอบเทียบ zero calibration ผิดวิธี อาจจะเกิดมาจากพื้นที่การทำงานไม่เหมาะกับการทำ zero calibration เช่น อาจจะมีสิ่งขีดขวางในระยะ…

  • บทความ

    CM-36dG Series กับฟังก์ชันการวิเคราะห์และการปรับความยาวคลื่น (WAA)

         เครื่องวัดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ออกแบบมาเพื่อวัดวัสดุที่มีสีอย่างแม่นยำและความคงที่ในการวัดซ้ำ(repeatability) โดยทั่วไปความยาวคลื่นของเครื่องวัดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์จะมีการเบี่ยงเบนอย่างสม่ำเสมอตามการใช้งานซ้ำๆ เมื่อเวลาผ่านไป ความคลาดเคลื่อนนี้สามารถเกิดขึ้นเองได้แม้จะเป็นเครื่องวัดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ที่แม่นยำที่สุด และอาจทำให้ผลการวัดผันแปรได้ นอกจากนี้ อุณหภูมิและความชื้นโดยรอบยังสามารถส่งผลต่อผลการวัดที่ผันผวนตลอดทั้งวันและในแต่ละวัน        เครื่องวัดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ Konica Minolta CM-36dG , CM-36dGVและCM-36d มาพร้อมกับฟังก์ชันการวิเคราะห์และการปรับความยาวคลื่น (WAA)  ซึ่งสามารถตรวจจับและแก้ไขการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยของความยาวคลื่นได้โดยอัตโนมัติ เมื่อรวมกับการสอบเทียบจากโรงงานหรือการสอบเทียบประจำปี ยิ่งทำให้เครื่องวัดสีมีการวัดที่เสถียรและแม่นยำมากขึ้น           เครื่องมือทั้งสามมีความคงที่ในการวัดซ้ำ(repeatability)สูงที่ σ∆E*ab < 0.02 สำหรับ CM-36dG และ CM-36dGV และ σ∆E*ab < 0.03 สำหรับ CM-36d ด้วย CM-36dG และ CM-36dGV นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างระหว่างเครื่องมือ Inter Intrument Agreement (IIA) ΔE*ab< 0.12 การใช้เครื่องมือที่มีค่า Inter Intrument Agreement (IIA) ที่แคบ นั่นคือ…