• กิจกกรรม

    สาธิตการใช้งาน Specim IQ ที่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

               เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 ที่ผ่านมานี้ ทาง Centasia ซึ่งมีคุณศุภฤกษ์และคุณภัทรินทร์ ร่วมกับ Konica Minolta โดยมีคุณ Kosuke Inakazu  ได้มีโอกาสเข้าไปสาธิตการใช้งานเครื่อง SPECIM IQ ที่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่            การสาธิตในครั้งนี้ใช้ Specim IQ ซึ่งเป็นกล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI) ถ่ายให้เห็นภาพรวมของใบพืช เพื่อตรวจสอบความเขียวของใบพืช โรคพืช  อีกทั้งยังสามารถเขียนค่าสัมพันธ์กับค่า SPAD ได้  หากคุณสนใจให้เรานำให้เรานำกล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI) อย่างเครื่อง Specim IQ ไปสาธิตกับงานวิจัยของคุณ สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางติดต่อด้านล่างค่ะ        ภาพด้านล่างนี้เป็นภาพบรรยากาศการสาธิต ซึ่งทีมงานของเราต้องขอขอบคุณอาจารย์ นักศึกษา ของคณะเกษตรศาสตร์…

  • กิจกกรรม

    สาธิตการใช้งาน Specim IQ ที่ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้

               เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2565 ที่ผ่านมา ทาง Centasia ซึ่งมีคุณศุภฤกษ์และคุณภัทรินทร์ ร่วมกับ Konica Minolta โดยมีคุณ Kosuke Inakazu  ได้มีโอกาสเข้าไปสาธิตการใช้งานเครื่อง SPECIM IQ ที่คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่            การสาธิตในครั้งนี้ใช้ Specim IQ ซึ่งเป็นกล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI)  แยกประเภทของเนื้อสัตว์ต่างๆ โดยทดลองนำเนื้อไก่และเนื้อหมูมาผสมกัน แล้วใช้ Specim IQ แยกเนื้อเหล่านี้ นอกจากนี้ยังใช้ Specim IQ ตรวจสอบไขมันในเนื้อสัตว์ ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่นำมาตรวจสอบไขมันในครั้งนี้ คือ เนื้อวัว  และการตรวจสอบเมลานิลในเนื้อไก่ดำ หากคุณสนใจให้เรานำให้เรานำกล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI) อย่างเครื่อง Specim IQ ไปสาธิตกับงานวิจัยของคุณ สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางติดต่อด้านล่างค่ะ…

  • บทความ

    ตัวช่วยควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมการเกษตร

                    ผลิตผลจากการเกษตรเป็นแหล่งอาหารที่เราทุกเราต้องการ การจะได้ผลิตผลที่ดีมีคุณภาพแน่นอนว่าจำเป็นต้องมีการควบคุมคุณภาพด้านต่างๆ ขึ้นอยู่กับพืชแต่ละสายพันธ์ หรือผลิตผลที่ต้องการ ซึ่งปัจจุบันก็มีบริษัทมากมายที่ออกแบบเครื่องมือวัดสำหรับการนำไปใช้ในงานที่หลากหลาย เช่นเดียวกับ Konica Minolta ที่มีเครื่องมือวัดสำหรับการวัดสี แสง และhyperspectral imaging วัดแสงเพื่อการเกษตร         การทำเกษตรแบบแนวตั้ง (vertical farming) เป็นการเพาะปลูกในโรงเรือน ปลูกเป็นชั้น การเพาะปลูกในลักษณะนี้เกษตรกรส่วนใหญ่ สามารถควบคุมปริมาณแสง ความชื้น อุณหภูมิให้พอเหมาะต่อพืชที่เพาะปลูกได้  หลายที่เลือกใช้หลอด LED เป็นแหล่งกำเนิดแสงให้กับพืชที่เพาะปลูก         การหาแสงสว่างที่ถูกต้องเป็นสิ่งสำคัญและเข้าใจผลลัพธ์และความสามารถในการจัดหาพลังงานที่จำเป็นเพื่อการเติบโตของพืช เครื่องมือวัดแสงเพื่อการเกษตร ทาง Konica Minolta มีเครื่องมีวัดแสงหลากหลายรุ่น ยกตัวอย่างเช่น  Illuminance Meter T-10A ,  Illuminance Spectrophotometer CL-500A เป็นต้น สามารถวัดค่า lux, Correlated Color…

  • บทความ

    การตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารด้วย Hyperspectral Imaging

    รูปที่ 1 HSI สามารถระบุลักษณะไขมันในเนื้อสัตว์ได้พร้อมกันและรวดเร็ว และตรวจจับวัตถุที่ไม่ต้องการ เช่น ไม้และพลาสติกจากเนื้อสัตว์              คุณภาพและความปลอดภัยของอาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้บริโภค การตรวจสอบลักษณะภายนอกและองค์ประกอบต่างๆของอาหารให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยภายใต้ดูแลขององค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ ตลอดจนความคาดหวังของผู้บริโภค         การตรวจสอบมีหลายวิธี แต่วิธีการที่แพร่หลายในปัจจุบัน บางวิธีต้องการการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ซึ่งมีขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างที่ซับซ้อนและใช้เวลานาน นอกจากนี้ด้วยวิธีการตรวจสอบมักทำลายตัวอย่างที่ใช้ในการตรวจสอบ         ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาภาพไฮเปอร์สเปกตรัม (hyperspectral imaging หรือ HSI) เป็นเทคนิคที่เติบโตอย่างรวดเร็วในอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหาร เป็นวัดปฏิกิริยาระหว่างแสง (การสะท้อน การส่งผ่าน ฯลฯ) และวัสดุผ่านกล้องไฮเปอร์สเปกตรัมเพื่อให้ได้ spectral signatures หรือ spectral fingerprints วัสดุทุกชิ้นมี spectral signatures ที่เป็นเอกลักษณ์ และ spectral fingerprints เหล่านี้มีข้อมูลเชิงปริมาณ ที่สามารถใช้เพื่อระบุลักษณะ และแยกแยะวัสดุเพิ่มเติม ดังแสดงในรูปที่ 1 HSI การถ่ายภาพแบบ full-spectral imaging…

  • กิจกกรรม,  คอร์สออนไลน์

    Introduction to hyperspectral imaging by Spectral Imaging Ltd.

    กิจกรรมครั้งนี้เป็นการร่วมมือระหว่างทางทีม IIE&IIS จาก Centasia , Konica Minolta Thailand และ Spectral Imaging Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิต SPECIM บรรยายสด ผ่าน Zoom ใน วันอังคาร ที่ 9 พฤศจิกายน 2564 เวลา 14:00น.-15:30 น. บรรยาย (ภาษาอังกฤษ) โดย1.Jussi Soukkamäki : Sales and Business Development Manager at SPECIM2.Esko Herrala : Co-Founder and Senior Application Physicist at SPECIM ความพิเศษของกิจกรรมนี้คือ คุณสามารถสอบถามข้อสงสัยต่างๆ กับตัวแทนจากบริษัทผู้ได้โดยตรง อีกทั้้งกิจกรรมนี้ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น หัวข้อที่จะบรรยายในครั้้งนี้ มีดังนี้ Specim company and product introduction What is Hyperspectral…

  • บทความ

    กล้องไฮเปอร์สเปกตรัม SPECIM IQ

                   กล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI)  เป็นเครื่องมือที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการตรวจสอบ พืชผล พืชพรรณ หรือ ผักในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ข้อมูลพื้นฐาน เช่น สรีรวิทยา โครงสร้าง หรือชีวเคมีของพืช สามารถตรวจวัดได้โดยไม่ทำลายตัวอย่าง ในช่วงเวลาต่างๆ ด้วยกล้องถ่ายภาพ HSI ตัวอย่างเช่น สามารถใช้ตรวจสอบความเครียดของพืชในกระบวนการฟีโนไทป์หรือรูปแบบการเกษตรที่นำเอาเทคโนโลยีและการจัดการข้อมูลมาใช้ภายในฟาร์ม กระบวนการวัดและการใช้งานกล้อง HSI ส่วนมากค่อนข้างซับซ้อน ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีความต้องการกล้อง HSI ที่ใช้งานง่ายเพิ่มขึ้น              ขอแนะนำ Specim IQ ซึ่งเป็นกล้องไฮเปอร์สเปกตรัมแบบใช้มือถือที่ออกแบบมาเพื่อให้ตรงกับความต้องการที่ทันสมัยของเทคโนโลยี HSI กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมแบบออลอินวันใช้เทคโนโลยี push-broom (สแกนเชิงเส้น) Specim IQ มาพร้อมกับการใช้งานบนกราฟิกที่เรียบง่าย ซึ่งให้ผลการวัดและข้อมูลเชิงลึกได้ทันทีโดยไม่ต้องใช้โมเดลการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนหรือทักษะการประมวลผลขั้นสูง กระบวนการจัดการข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น ขั้นตอนก่อนการประมวลผลและการจัดหมวดหมู่ สามารถใช้ได้จากซอฟต์แวร์ภายในกล้องได้     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา   …

  • บทความ

    การประเมินคุณภาพเนื้อสัตว์ด้วยภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตรัม

         อุตสาหกรรมอาหารให้ปัจจุบัน มีการแข่งขันสูงและใส่ใจคุณภาพเป็นอย่างมาก การประเมินและวิเคราะห์คุณสมบัติภายในและลักษณะภายนอกของเนื้อสัตว์ เป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้เลยสำหรับผู้ผลิตเนื้อสัตว์รวมไปถึงผู้ผลิตอาหารแปรรูป           ปัจจัยสำคัญต่อการคัดแยกและรับรองคุณภาพของเนื้อสัตว์ คุณสมบัติภายในเช่น ปริมาณไขมัน และปริมาณน้ำมีผลต่อรสชาติของเนื้อสัตว์ โดยที่คุณสมบัติภายนอกเช่น สี ผู้บริโภคนิยมใช้เพื่อบ่งบอกถึงความสด ใหม่และคุณภาพของเนื้อสัตว์           การประเมินคุณภาพของเนื้อสัตว์มีวิธีการที่หลากหลาย เช่น ตรวจสอบด้วยสายตา, ตรวจสอบด้วยสีจากกล้องที่มีฟิลเตอร์โดยเฉพาะ หรือทดสอบในห้องปฏิบัติการเพื่อประเมินและวิเคราะห์คุณภาพเนื้อสัตว์ อย่างไรก็ตามวิธีการเหล่านี้มักจะต้องทำลายตัวอย่าง ใช้เวลานานและไม่เหมาะในการผลิตที่ต้องการความรวดเร็ว นอกจากนั้นยังต้องสุ่มตัวอย่างในพื้นที่หรือ ปริมาณน้อยเท่านั้น       ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันเราสามารถประเมินคุณภาพเนื้อสัตว์ได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ทำลายตัวอย่างและมีความแม่นยำได้ด้วย กล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral Imaging (HSI)        กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมรุ่น Specim IQ และ FX series ให้ความละเอียดของสเปกตรัมสูงทั้งในช่วงสเปกตรัมที่ตามนุษย์มองเห็น (VIS) และช่วงอินฟราเรดระยะใกล้ (NIR) สามารถแสดงความแตกต่างได้มากกว่าสิ่งที่ดวงตามองเห็น นอกจากนี้กล้องเหล่านี้สามารถวัดช่วงสเปกตรัมที่แคบและต่อเนื่องกันจำนวนมาก ดังนั้นจึงสามารถให้ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติม เกี่ยวกับคุณสมบัติภายในและภายนอกของเนื้อสัตว์ได้เป็นอย่างดี  …

  • บทความ

    กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมบันทึกข้อมูลได้อย่างไร

    ภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI) เป็นการวัดแบบไม่ทำลายตัวอย่างซึ่งสามารถให้สเปกตรัมการสะท้อนแสงแบบสองมิติที่มีรายละเอียดสูงของสสารตัวอย่างในวัสดุเป้าหมาย เราสามารถใช้กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมเพื่อรวบรวมข้อมูลสเปกตรัมของสสารตัวอย่างโดยบันทึกสเปกตรัมนับพันหรือหลายแสนสเปกตรัมแทนที่จะเป็นสเปกตรัมเพียงค่าเดียว ในหนึ่งภาพถ่ายจะเป็นการรวบรวมสเปกตรัมของแต่ละพิกเซล ฉนั้นในแต่ละพิกเซลจะมีสเปกตรัมที่สมบูรณ์และรวบรวมเป็นภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตรัมที่สมบูรณ์ ก่อนบันทึกข้อมูลด้วยกล้องไฮเปอร์สเปกตรัม จำเป็นต้องเข้าใจองค์ประกอบหลักสามประการ ได้แก่ ความยาวคลื่นของกล้องไฮเปอร์สเปกตรัม แหล่งกำเนิดแสงใช้ในการส่องสว่าง และแผ่นสีขาวมาตราฐานในการอ้างอิงการสะท้อนแสง ชมวิดีโอการศึกษาด้านล่างเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติม กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมบันทึกข้อมูลได้อย่างไร? ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา จากงานวิจัยที่ประสบผลสำเร็จจำนวนมากขึ้นได้พิสูจน์ให้เห็นถึงความเอนกประสงค์ของไฮเปอร์สเปกตรัมถูกใช้ในการวิจัยอย่างแพร่หลาย ตัวอย่างของสสารตัวอย่างที่นำมาวัดได้แก่ พืช, ผลไม้, ปฐพีวิทยา, โดยสเปกตรัมการสะท้อนจะแสดงถึงโปรไฟล์สเปกตรัมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ช่วยให้ตรวจจับพารามิเตอร์ที่สำคัญในการผลิตอาหาร ธรณีวิทยาและการเกษตรที่แม่นยำ     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา     ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected] เบอร์ 02-361-3730 หรือ 092-384-4664 Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน QR code ด้านข้างนี้ค่ะ สามารถติดตามช่องYoutubeของเราเพื่อรับชมวิดีโอการสาธิตเครื่องมือ และการแนะนำการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเครื่องวัดสี

  • บทความ

    การถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม ในการวิจัยพืชและการเกษตร

               เมื่อพืชต้องเผชิญกับสภาวะความเครียด เช่น แสงที่มีความเข้มสูง และขาดสารอาหาร อาจส่งผลเสียต่อการเจริญเติบโตของพืชและผลผลิต จากการศึกษาพบว่าการสะสมของเม็ดสี เช่น แอนโธไซยานิน มีความสัมพันธ์ กับความเครียดประเภทต่างๆ สิ่งสำคัญคือ ต้องระบุอาการเครียดในพืช เช่น ตั้งแต่เริ่มมีการสะสมของแอนโธไซยานิน การเริ่มปรากฏของแอนโธไซยานินและเม็ดสีประเภทอื่น ๆ มักจะเริ่มต้นจากพื้นที่เล็กๆ ทำให้ยากต่อการระบุ หรือประเมินด้วยสายตา วิธีการที่ใช้อยู่ในการหาปริมาณแอนโธไซยานิน และเม็ดสีประเภทอื่นๆ มักจะอาศัยการประเมินด้วยสายตา หรือการวิเคราะห์ทางเคมี ซึ่งวิธีการเหล่านี้อาจมีความซับซ้อน ใช้เวลานาน ต้องทำลายตัวอย่าง และมีค่าใช้จ่ายสูง          กล้องที่ใช้ระบบการอ้างอิงจากภาพ โดยใช้สีและฟิลเตอร์ และ การถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม (HSI) กำลังได้รับความนิยมในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เนื่องจากสามารถตรวจสอบสิ่งที่ต้องการ โดยไม่ต้องไม่ต้องทำลายตัวอย่าง กล้องที่ใช้ระบบการอ้างอิงจากภาพ โดยใช้สีและฟิลเตอร์ สามารถจำแนกลักษณะของวัตถุตามสี หรือรูปร่างได้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสามารถบันทึกแสงได้ เฉพาะในช่วงที่ตาคนมองเห็น คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน (RGB) ความสามารถในการระบุชนิดของสสารจึงน้อยมาก      …

  • บทความ

    การวัดปริมาณคลอโรฟิลล์อย่างแม่นยำด้วยการถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม

                 คลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุหรือเม็ดสีที่สำคัญของพืชที่ดูดซับพลังงานจากแสงเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสง พืชที่มีสุขภาพดีโดยทั่วไปจะมีปริมาณคลอโรฟิลล์สูง และปริมาณจะมีแนวโน้มลดลงเมื่อช่วงอายุของใบเพิ่มขึ้นหรือเมื่อพืชอยู่ภายใต้ความเครียด[1] ดังนั้น เราจึงมักใช้ภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตรัมเพื่อตรวจสอบและศึกษาความสมบูรณ์ สุขภาพและการเจริญเติบโตของพืช เช่น ความเครียด ภาวะโภชนาการของพืช เป็นต้น นอกจากนี้ คลอโรฟิลล์ยังสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ทางอ้อมของธาตุไนโตรเจน ซึ่งเป็นพารามิเตอร์สำคัญที่ใช้กันทั่วไปในการบริหารจัดการทางการเกษตรเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด วิธีดั้งเดิมในการตรวจวัดปริมาณคลอโรฟิลล์คือ วิธีทางเคมีซึ่งต้องทำในห้องปฏิบัติการ โดยมีขั้นตอนเกี่ยวข้องกับการเก็บเกี่ยวใบจากพืชตัวอย่างและการสกัดคลอโรฟิลล์โดยใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ หลังจากนั้นจะใช้ HPLC โครมาโตกราฟี เพื่อวิเคราะห์ปริมาณคลอโรฟิลล์ วิธีนี้มีค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลานาน และเกี่ยวข้องกับขั้นตอนการสกัดที่ยุ่งยาก ซึ่งทำลายใบพืชและไม่สามารถตรวจสอบ ติดตามลักษณะของพืชเมื่อเวลาผ่านไป ในทางตรงกันข้าม ภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตรัม hyperspectral imaging (HSI)[2] เป็นเทคโนโลยีใหม่โดยวัดปริมาณคลอโรฟิลล์แบบไม่ทำลายตัวอย่าง ตรวจวัดรวดเร็ว และเที่ยงตรง            HSI เป็นการผสมผสานระหว่างการวัดสเปกตรัมและการถ่ายภาพดิจิทัล ด้วยเทคโนโลยี HSI โครงสร้างทางกายภาพของพืช เช่น ใบและลำต้น สามารถรตรวจวัดได้จากเทคนิคการถ่ายภาพดิจิทัล และข้อมูลทางสรีรวิทยาหรือชีวเคมีจากการวัดสเปกตรัม โดยตรวจวัดด้วยช่วงสเปกตรัมที่แคบและต่อเนื่องกันแล้วนำมาเชื่อมต่อกันได้เป็นสเปกตรัมที่สมบูรณ์จำนวนมาก กล้องถ่ายภาพ HSI มีหลากหลายประเภท เช่น แบบสแกนเชิงเส้น (push…