• กิจกกรรม

    อบรมเครื่องวัดสีภายในบริษัท Musashi Paint Manufacturing (Thailand) Co.,Ltd.

        บรรยากาศการอบรมภายในบริษัท Musashi Paint Manufacturing (Thailand) Co.,Ltd.  เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 คุณรัชฎาภรณ์ นิยมรัตน และ คุณ พงศ์ธันวา วารินตะ จากบริษัท เซ็นเทเซีย ได้เข้าไปอบรมภายในให้กับพนักงานของ Musashi Paint Manufacturing (Thailand) Co.,Ltd.  เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องวัดสี โดยมีหัวข้อการบรรยาย ดังนี้ วิธีการแก้ไขค่า Error ต่างๆของเครื่อง การตั้งค่าการใช้งานเครื่องกับเฉดสีฉูดฉาด (Work shop) วิธีการใช้งานเครื่อง และการตั้งค่าเครื่องทั่วไป การดูแลรักษา และข้อควรระวังในการใช้เครื่องมือวัด       ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทางเรายินดีเข้าไปอบรมให้กับผู้ใช้งานเพื่อให้เกิดความเข้าใจในการใช้งานเครื่องวัดสีมากขึ้น หากต้องการให้เราเข้าไปอบรมการใช้งานเครื่องมือ หรือ ทฤษฎีการวัดสี สามารถติอต่อเราเข้ามาได้ตามช่องทางการติดต่อของเรา โดยกิจกรรมนี้ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ สำหรับลูกค้าที่มีการซื้อเครื่องวัดสีจากทางเซ็นเทเซีย     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา      ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected]   เบอร์…

  • บทความ,  หนังสือ

    การสื่อสารสีอย่างแม่นยำ (Precise Color Communication) ส่วนที่ 1.2

              หากมองรอบๆตัว สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา ล้วนมีสีที่แตกต่างและหลากหลาย แม้ว่าเราจะมองสีที่เหมือนกันแต่การที่เราจะอธิบายสีให้อีกคนฟังแล้วนึกภาพสีเป็นสีเดียวกับสีที่เรามองเห็นนั้นเป็นเรื่องที่ยากมากๆ เนื่องจากสีต่างจากความยาวหรือน้ำหนักตรงที่ ไม่มีมาตราส่วนทางกายภาพสำหรับการวัดสี ทำให้ไม่น่าเป็นไปได้ที่ทุกคนจะตอบแบบเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ถ้าเราพูดถึงผู้คนว่า “ทะเลสีฟ้า” หรือ “ท้องฟ้าสีฟ้า” แต่ละคนจะจินตนาการถึงสีฟ้าที่แตกต่างกัน เพราะประสบการณ์การจดจำสีหรือการเรียนรู้สีแต่ละสี แต่ละเฉดสีที่ผ่านมาจะแตกต่างกัน นี่คือปัญหาของสื่อสารสี ลองมาเริ่มทำความเข้าใจในแต่ละประเด็น (ข้อมูลเนื้อหานี้เราได้มาจากหนังสือ Precise Color Communication จาก Konica Minolta มีการปรับคำหรือยกตัวอย่างที่แตกต่างเพื่อให้อ่านง่ายมากขึ้น หากต้องการอ่านต้นฉบับสามารถ คลิกที่ลิ้งค์นี้ ) เราขอแนะนำให้อ่านตามหัวข้อเหล่านี้ทั้งหมด หนังสือเล่มนี้แบ่งเป็น 4 ส่วน สำหรับส่วนที่ 1 มีหัวข้อดังนี้ แอปเปิ้ลนี้สีอะไร? สภาพวะต่างๆที่มีผลต่อการปรากฏของสี สองลูกสีแดง คุณจะอธิบายความแตกต่างระหว่างสีของพวกเขากับใครบางคนอย่างไร โลกของสีประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ : สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว สร้างแบบจำลองสีด้วย สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว เราสามารถวัดสีเป็นตัวเลขได้ด้วยการสร้างสเกล สีสัน ความสว่าง และความอิ่มตัว ปริภูมิสี มาวัดสีต่างๆ…

  • บทความ,  หนังสือ

    การสื่อสารสีอย่างแม่นยำ (Precise Color Communication) ส่วนที่ 1.1

              หากมองรอบๆตัว สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา ล้วนมีสีที่แตกต่างและหลากหลาย แม้ว่าเราจะมองสีที่เหมือนกันแต่การที่เราจะอธิบายสีให้อีกคนฟังแล้วนึกภาพสีเป็นสีเดียวกับสีที่เรามองเห็นนั้นเป็นเรื่องที่ยากมากๆ เนื่องจากสีต่างจากความยาวหรือน้ำหนักตรงที่ ไม่มีมาตราส่วนทางกายภาพสำหรับการวัดสี ทำให้ไม่น่าเป็นไปได้ที่ทุกคนจะตอบแบบเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ถ้าเราพูดถึงผู้คนว่า “ทะเลสีฟ้า” หรือ “ท้องฟ้าสีฟ้า” แต่ละคนจะจินตนาการถึงสีฟ้าที่แตกต่างกัน เพราะประสบการณ์การจดจำสีหรือการเรียนรู้สีแต่ละสี แต่ละเฉดสีที่ผ่านมาจะแตกต่างกัน นี่คือปัญหาของสื่อสารสี ลองมาเริ่มทำความเข้าใจในแต่ละประเด็น (ข้อมูลเนื้อหานี้เราได้มาจากหนังสือ Precise Color Communication จาก Konica Minolta มีการปรับคำหรือยกตัวอย่างที่แตกต่างเพื่อให้อ่านง่ายมากขึ้น หากต้องการอ่านต้นฉบับสามารถ คลิกที่ลิ้งค์นี้ ) เราขอแนะนำให้อ่านตามหัวข้อเหล่านี้ทั้งหมด หนังสือเล่มนี้แบ่งเป็น 4 ส่วน  สำหรับส่วนที่ 1 มีหัวข้อดังนี้ แอปเปิ้ลนี้สีอะไร? สภาพวะต่างๆที่มีผลต่อการปรากฏของสี สองลูกสีแดง คุณจะอธิบายความแตกต่างระหว่างสีของพวกเขากับใครบางคนอย่างไร โลกของสีประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ : สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว สร้างแบบจำลองสีด้วย สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว เราสามารถวัดสีเป็นตัวเลขได้ด้วยการสร้างสเกล สีสัน ความสว่าง และความอิ่มตัว  ปริภูมิสี มาวัดสีต่างๆ…

  • บทความ

    เรื่องที่ต้องรู้ เมื่อต้องการวัดค่าสีหรือบอกปริมาณสี

               สีเป็นสิ่งที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า หรือการประเมินคุณภาพของสินค้าหรือตรวจสอบคุณภาพ และหลายคนอาจจะยังมีความเข้าใจไม่เพียงพอ บทความนี้เราจะขอแนะนำสิ่งที่จำเป็นต้องรู้ เมื่อต้องการบอกปริมาณสีหรือวัดค่าสี นั่นคือ แหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant) , มาตรฐานการมอง (Observer) 2o หรือ 10o  , มาตรฐานวีธีวัดค่า (Measurement Method) เรามาทำความเข้าใจองค์ประกอบทั้งสามส่วนนี้ โดยเริ่มจาก  แหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant) ว่าแต่ละชนิดหมายถึงแสงลักษณะใด เพื่อให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม   มาตรฐานแหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant)  ชื่อของแหล่งกำเนิด อุณหภูมิของสี (Color Temp : K) คำอธิบาย D65 6504 K CIE Standard Illuminant D65 เป็นตัวแทนของแสงอาทิตย์เฉลี่ยรวมรังสี UV D50 5003 K…

  • กิจกกรรม,  คอร์สออนไลน์

    LIVE WEBINAR : AUTOMOTIVE EXTERIOR COLOR MANAGEMENT

                  สัมมนาออนไลน์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ที่กำลังจะเกิดขึ้นในครั้งนี้ เป็นการบรรยายเกี่ยวกับการวัดสีในอุตสาหกรรมยานยนต์  หัวข้อการบรรยายจะพูดถึง การวัดสีรถยนต์ภายนอก (automotive exterior color management) เปรียบเทียบสเปคหรือจุดเด่นของเครื่องวัดสีแบบ multi angle spectrophotometer รุ่นที่ใช้กันอย่างแพร่หลายอย่าง Konica Minolta CM-512m3A กับรุ่นล่าสุด Konica Minolta CM-M6 Live demo สาธิตการวัดค่าสีด้วยเครื่องวัดสี การอ่านค่าสี แน่นอนว่าตัวอย่างที่ใช้สาธิตเป็นสี metallic, white pearl  สัมมนาหัวข้อนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และผู้สนใจการบรรยายจะเปิดรอบทั่วไป ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 เวลา 14:00 น. – 15:30 น.  ผ่านโปรแกรม Microsoft Team *ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น* ลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป https://forms.gle/ivPuuTw4xiwwGtMC6 เนื้อหาบรรยายในรอบทั่วไป จะไม่มีการลงรายละเอียดเชิงลึก หากต้องการปรึกษาการวัดสีด้วยข้อมูลเชิงลึกเฉพาะบริษัทของคุณ สามารถติดต่อ…

  • บทความ

    การทำความเข้าใจในพื้นฐานของการวัดสี

          สีเป็นองค์ประกอบสำคัญในหลายอุตสาหกรรม สีสามารถมีอิทธิพลต่อการซื้อและมักใช้เป็นตัวแปรในการกำหนดคุณภาพผลิตภัณฑ์ เมื่อสีของผลิตภัณฑ์อยู่นอกช่วงสีที่คาดหวังหรือแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ที่อยู่ติดกันบนชั้นวาง เรามักจะมองว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีข้อบกพร่องหรือคุณภาพต่ำ ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของเราในที่สุด         ด้วยพลังของสีในการบ่งบอกถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์และกระตุ้นการซื้อ เจ้าของแบรนด์หรือผู้ผลิตจะต้องทำการผลิตสินค้าที่ได้สีที่ต้องการอย่างแม่นยำและสม่ำเสมอ แต่การสื่อสารด้วยสีที่แม่นยำอาจเป็นเรื่องที่ท้าทาย เนื่องจากสีเป็นรูปแบบหนึ่งของการรับรู้และต้องอาศัยการตีความของแต่ละคน แม้ว่าคนสองคนกำลังดูวัตถุเดียวกัน แต่ละคนจะใช้การอ้างอิงและประสบการณ์ของตนเองเพื่ออธิบายหรือเรียกสีที่เห็นแตกต่างกัน ด้วยหลากหลายวิธีในการแสดงสี เราจะสามารถสื่อสารสี หรือ อธิบายสีที่ต้องการให้ผู้ฟังเข้าใจตรงกับเราได้อย่างไร ? เพื่อการสื่อสารสีที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ อันดับแรกเราต้องเข้าใจคุณลักษณะทั้ง 3 ของสี ได้แก่ เฉดสี ความสว่าง และความอิ่มตัวของสี       เฉดสี เป็นคำทั่วไปที่ใช้อธิบายสี เช่น สีแดง สีเขียว หรือสีน้ำเงิน   ความสว่าง อธิบายถึงความสว่างหรือความมืดของเฉดสีนั้นๆ       ความอิ่มตัวของสี (Hue) อธิบายถึงความสดใสหรือความหมองคล้ำ                ด้วยคุณสมบัติ 3 ประการนี้ เราสามารถสื่อถึงสีของผลิตภัณฑ์ เช่น ลิปสติกสีแดง เป็นสีแดงสดและที่มีความสดใส แม้ว่าการสื่อสารด้วยสีรูปแบบนี้สามารถช่วยอธิบายสีได้ดีขึ้น แต่ก็ยังกว้างเกินไปสำหรับการสื่อสารสีที่แม่นยำ ตัวอย่างเช่น หากสีของผลิตภัณฑ์เข้มกว่าที่ตั้งใจไว้มาก เราจะระบุความสว่างที่แม่นยำผ่านระบบสีมาตรฐานที่รู้จักและใช้งานในระดับสากลได้อย่างไร?      เช่นเดียวกับน้ำหนักหรือขนาดที่เราสามารถวัดด้วยมาตราส่วนจริง สีสามารถแสดงเป็นตัวเลขได้โดยใช้ระบบที่เรียกว่าหน่วยสี CIE L*a*b*                พื้นที่สี CIE…

  • บทความ

    ทำความรู้จัก CIE L*C*h Color Space

          หน่วยสี (color space) ใช้อธิบายและสื่อสารสีของวัตถุโดยใช้ตัวเลข ซึ่งมี Commission Internationale de l’Eclairage (CIE) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ได้รับระดับสากล  ได้กำหนดขอบเขตสี รวมถึงหน่วยสีในระบบต่างๆ เช่น CIE XYZ, CIE L*a*b* และ CIE L*C *h สำหรับสื่อสารและแสดงสีของวัตถุ  ระบบเหล่านี้ช่วยให้ผู้ใช้ในการประเมินคุณลักษณะสี,คัดแยกหรือระบุส่วนที่ไม่สอดคล้องกันและถูกต้องแม่นยำ          หน่วยสี (color space)  L*C*h ซึ่งคล้ายกับ CIELAB เป็นที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรม หรือที่บางคนอาจจะรู้จักหรือคุ้นหูหน่วยสี L*a*b*  เนื่องจากระบบนี้มีความสอดคล้องกับการรับรู้สีของดวงตามนุษย์ และมีไดอะแกรมเช่นเดียวกับหน่วยสี L*a*b* แต่ใช้พิกัดทรงกระบอกแทนพิกัดสี่เหลี่ยม ดังรูปด้านซ้ายมือ ในหน่วยสี (color space)  นี้ L* หมายถึงความสว่าง C* หมายถึง ความเข้มของสี หรือหากพูดให้เข้าใจง่ายๆคือ C หรือ Chroma เป็น ความสดของสี…

  • บทความ

    ทำความรู้จัก Error code บนเครื่องวัดสีCR-400/CR-410

    Error code ที่อาจพบได้ในเครื่องวัดสี CR-400/CR-410 ซึ่งสามารถเกิดได้จากการใช้งาน หรือการตั้งค่าที่ผิดปกติ หรือแม้แต่เรื่องเล็กๆอย่างเสียบสายไม่แน่น ก็อาจทำให้เกิด Error code บนเครื่องวัดสีของคุณได้ วันนี้เราจะมาอธิบาย Error code บนเครื่องวัดสีพร้อมวิธีการแก้ไขเบื้องต้นด้วยตัวเอง มาดูกันว่า แต่ละcode หมายความว่าอะไรบ้าง *DP หมายถึง data processor หรือหลายคนเรียกว่าเครื่องปริ้น , HD หมายถึง หัววัด * ERROR CODE สาเหตุ แนวทางแก้ไข ER00 COMMUNICATION ERROR การสื่อสารผิดพลาด สายเคเบิ้ลหลวม อุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่าง DP กับHPผิดปกติ light source ระหว่าง DP กับ HD ตั้งค่าไม่เหมือนกัน ให้ลูกค้าตรวจเช็คสายเคบิ้ลระหว่าง DP กับ HD เช็คการตั้งค่า light source ระหว่าง DP กับ HD ว่าตรงกันหรือไม่ ER01…

  • บทความ

    ทำความเข้าใจเกี่ยวกับcolor scale ในอุตสาหกรรมยา

    Color scale ในอุตสาหกรรมยา European Pharmacopoeia (EP) และ US Pharmacopeia (USP) มักใช้เพื่อตรวจสอบสีและลักษณะของยาเหลวและอำนวยความสะดวกในการสื่อสารสีภายในอุตสาหกรรม Color scale ใน EP ประกอบด้วยสีอ้างอิง 37 สี: สีน้ำตาล (B1 – B9) น้ำตาล / เหลือง (BY1 – BY7) สีเหลือง (Y1 – Y7) เขียว / เหลือง (GY1 – GY7) แดง (R1 – R7) สารละลายอ้างอิงหรือที่หลายคนเรียกว่า “สารละลายมาตรฐาน” 37 สีนี้สร้างขึ้นจากการผสมและเจือจางของเหลวหลัก 3 ชนิดของโคบอลต์คลอไรด์ (สีแดง) เฟอร์ริก (III) คลอไรด์ (สีเหลือง) และคอปเปอร์ซัลเฟต (สีน้ำเงิน) Color scale ใน USP ใช้ของเหลวหลัก…

  • บทความ

    การเลือกรูปทรง(Geometries) เครื่องมือที่เหมาะสม

    การมีความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับ optical geometry เป็นสิ่งสำคัญเนื่องจากมีผลกระทบอย่างมากต่อผลการวัดสีของคุณ ในการพิจารณาว่า geometry ใดที่เหมาะกับแอปพลิเคชันของคุณมากที่สุดจำเป็นต้องเข้าใจว่าแต่ละรูปทรงส่องสว่างและตรวจจับสีของวัตถุอย่างไร ด้านล่างนี้เราจะอธิบายรูปทรงทั่วไป 2 รูปแบบที่สร้างขึ้นภายในเครื่องมือวัดสี 45 ° / 0 °: ระบบส่องสว่างทิศทางเดียว 45 ° / 0 °หรือระบบส่องสว่างทิศทางเดียวจะส่องสว่างวัตถุจากมุม 45 °และตรวจจับแสงสะท้อนที่ 0 ° geometry ประเภทนี้มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ทางสายตาและใช้เพื่อวัดลักษณะของตัวอย่างเนื่องจากมีความไวต่อสภาพพื้นผิว โดยพื้นผิวมันจะมีสีเข้มกว่าวัตถุที่มีพื้นผิวด้านแม้ว่าทั้งสองอย่างจะย้อมด้วยสีเดียวกันก็ตาม สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้วยวัสดุที่มีพื้นผิวที่แตกต่างกันการใช้ geometry 45 ° / 0 °จึงเป็นวิธีที่เหมาะสม d / 8 °: การส่องสว่างแบบกระจายที่ผสานรวมระบบทรงกลม ด้วย “d” หมายถึงการกระจายแสง (diffuse)  d / 8 °หรือการส่องสว่างแบบกระจายที่รวมระบบทรงกลมทำให้วัตถุส่องสว่างจากทุกทิศทางหรือทุกมุมเท่ากันและตรวจจับแสงสะท้อนที่ 8 ° รูปทรงเรขาคณิตประเภทนี้สามารถทำการวัดได้ทั้งใน   โหมดSpecular Component Excluded (SCE) หรือ Specular Component Included (SCI) จึงเหมาะสำหรับการวัดสี…