• บทความ

    การตรวจสอบเทคโนโลยีแสดงผลภาพบนกระจกหน้ารถ หรือ Head up display (HUD)

    HUD สำหรับยานยนต์เชิงพาณิชย์เครื่องแรกอยู่ใน ปี 1988 Oldsmobile Cutlass Supreme (ภาพ: © General Motors)          เทคโนโลยีแสดงผลภาพบนกระจกหน้า (HUD) เพื่อให้ผู้ขับขี่สามารถเห็นข้อมูลการขับขี่ได้โดยไม่ต้องละสายตาจากถนน ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้นในอุตสาหกรรมยานยนต์  รวมทั้งความคาดหวังของลูกค้าด้านคุณภาพของภาพและประสิทธิภาพที่เพิ่มมากขึ้น เริ่มตั้งแต่บนเครื่องบินสงครามโลกครั้งที่ 2จนถึง HUD สำหรับยานยนต์เครื่องแรกจาก General Motors ในปี 1988 จนถึงปัจจุบัน ระบบ HUD ได้พัฒนามาไกลในด้าน UI หรือปัจจัยในการเชื่อมต่อกับผู้ขับขี่ที่สามารถมองเห็นได้ซับซ้อนและสวยงามมากขึ้น          ปัจจุบัน HUD ได้รับการบรรจุเป็นอุปกรณ์มาตรฐานหรืออุปกรณ์ทางเลือกจากผู้ผลิตรถยนต์มากกว่า 30 รายทั่วโลก สามารถพบได้ในรถยนต์หรู อย่างเช่น BMW, Mercedes-Benz, Jaguar และ Rolls Royce แม้แต่รถระดับกลางและ SUV จากผู้ผลิตต่างๆ เช่น Hyundai, Volvo, Mazda, Audi, Chevrolet…

  • กิจกกรรม,  คอร์สออนไลน์

    LIVE WEBINAR : AUTOMOTIVE EXTERIOR COLOR MANAGEMENT

                  สัมมนาออนไลน์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ที่กำลังจะเกิดขึ้นในครั้งนี้ เป็นการบรรยายเกี่ยวกับการวัดสีในอุตสาหกรรมยานยนต์  หัวข้อการบรรยายจะพูดถึง การวัดสีรถยนต์ภายนอก (automotive exterior color management) เปรียบเทียบสเปคหรือจุดเด่นของเครื่องวัดสีแบบ multi angle spectrophotometer รุ่นที่ใช้กันอย่างแพร่หลายอย่าง Konica Minolta CM-512m3A กับรุ่นล่าสุด Konica Minolta CM-M6 Live demo สาธิตการวัดค่าสีด้วยเครื่องวัดสี การอ่านค่าสี แน่นอนว่าตัวอย่างที่ใช้สาธิตเป็นสี metallic, white pearl  สัมมนาหัวข้อนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และผู้สนใจการบรรยายจะเปิดรอบทั่วไป ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 เวลา 14:00 น. – 15:30 น.  ผ่านโปรแกรม Microsoft Team *ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น* ลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป https://forms.gle/ivPuuTw4xiwwGtMC6 เนื้อหาบรรยายในรอบทั่วไป จะไม่มีการลงรายละเอียดเชิงลึก หากต้องการปรึกษาการวัดสีด้วยข้อมูลเชิงลึกเฉพาะบริษัทของคุณ สามารถติดต่อ…

  • กิจกกรรม,  คอร์สออนไลน์

    Introduction to hyperspectral imaging by Spectral Imaging Ltd.

    กิจกรรมครั้งนี้เป็นการร่วมมือระหว่างทางทีม IIE&IIS จาก Centasia , Konica Minolta Thailand และ Spectral Imaging Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิต SPECIM บรรยายสด ผ่าน Zoom ใน วันอังคาร ที่ 9 พฤศจิกายน 2564 เวลา 14:00น.-15:30 น. บรรยาย (ภาษาอังกฤษ) โดย1.Jussi Soukkamäki : Sales and Business Development Manager at SPECIM2.Esko Herrala : Co-Founder and Senior Application Physicist at SPECIM ความพิเศษของกิจกรรมนี้คือ คุณสามารถสอบถามข้อสงสัยต่างๆ กับตัวแทนจากบริษัทผู้ได้โดยตรง อีกทั้้งกิจกรรมนี้ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น หัวข้อที่จะบรรยายในครั้้งนี้ มีดังนี้ Specim company and product introduction What is Hyperspectral…

  • บทความ

    การวัดสีชิ้นงานที่มีความเงา

    การวัดสีสินค้าสิ่งที่จำเป็น เป็นดูแลลักษณะภายนอกของสินค้าให้สวยงามและน่าซื้อ แต่การวัดสีสินค้าบางชนิด มีเอฟเฟกต์ของพื้นผิวมามีปัจจัยกับค่าสี เช่น ความมันวาว ที่ถูกนำมาใช้ให้สินค้าสองชิ้นที่มีสีใกล้เคียงกันดูแตกต่างกัน  อันที่มีระดับความมันวาวสูงกว่าจะดูเข้มและอิ่มตัวมากกว่าอีกอันหนึ่ง ในกรณีดังกล่าว การประเมินทั้งสีและความมันวาวเป็นสิ่งจำเป็นเพื่ออธิบายและวิเคราะห์ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ แม้ว่าเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์จำนวนมากสามารถอ่านค่าความเงาที่สัมพันธ์กันได้ แต่ก็ไม่ใช่การวัดความเงาที่แท้จริง นอกจากนี้ เครื่องวัดความเงาส่วนใหญ่ไม่มีการวัดมุมของความเงา จึงทำให้ผู้ใช้งานหลายคน ใช้เครื่องวัดความเงาร่วมกับเครื่องวัดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ การสลับไปมาระหว่างเครื่องมือนั้นอาจทำให้เป็นตำแหน่งที่วัดเปลี่ยนไป             ปัจจุบันเครื่องวัดสีแบบสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ได้พัฒนามากขึ้นทำให้สามารถวัดได้ทั้งสีและความเงา ในบทความนี้จะขอแนะนำ เครื่องวัดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ Konica Minolta CM-36dG เป็นรุ่นที่ออกมาใหม่ มาพร้อมเซ็นเซอร์ความเงา 60° ในตัว ทำให้สามารถวัดสีและความเงาพร้อมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ CM-36dG ออกแบบมาให้ทันสมัยมากขึ้นด้วยแผงสถานะที่อ่านง่ายและฟังก์ชันการดูตัวอย่างที่ช่วยลดข้อผิดพลาดของกระบวนการวัด พื้นที่การวัดที่แตกต่างกันสี่แบบคือ Ø4.0 มม., Ø8.0 มม., Ø16.0 มม. และ Ø25.4 มม.เพื่อตอบสนองความต้องการในการวัดที่แตกต่างกัน ค่าความต่างระหว่างตัวเครื่อง (IIA) ที่ ∆E*ab < 0.12 (ค่าเฉลี่ยของแผ่น BCRA 12 ชิ้น) และ ±0.2 GU (0…

  • บทความ

    วัดสีซิตรัสฟรุตหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว(Citrus Fruits)

                การเลือกซื้อผลไม้ของผู้บริโภคมักใช้สีในการตัดสินใจเลือกซื้อ โดยเลือกจากสีที่สื่อถึงความสดและรสชาติของผลไม้  นอกจากนี้ยังมีบทบาทสำคัญในทั้งระยะก่อนการเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยว          กระบวนการสุกของซิตรัสฟรุตหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว มีลักษณะเฉพาะด้วยวิวัฒนาการของสี และมักใช้เป็นตัวบ่งชี้เพื่อกำหนดเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม โดยทั่วไปสีของผลไม้จะมีการประเมินสายตา แม้ว่าจะเป็นวิธีที่รวดเร็วและราคาไม่แพงในการประเมินสี แต่ก็มีแนวโน้มที่มนุษย์จะลำเอียงในการเลือกสี (อ่านปัจจัยที่มีผลต่อการวัดสีด้วยสายตา) นอกจากนี้ สีและแสงโดยรอบยังส่งผลต่อการประเมินสีอีกด้วย ทุกวันนี้เครื่องมือวัดสีพร้อมใช้งานและใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อการประเมินสีที่รวดเร็ว มีความถูกต้องแม่นยำ และมีความสม่ำเสมอ        ด้วยเครื่องมือวัดสี สีของซิตรัสฟรุตหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว  เช่น ความเขียวและสีเหลืองของส้ม สามารถประเมินได้อย่างง่ายดายโดยใช้ หน่วยสีCIE L*a*b*และ หน่วยสี CIE L*C*h นอกจากนี้สามารถตั้งค่าขอบเขตของสี (color tolerance) เพื่อตั้งเป็นเกณฑ์ให้เครื่องวัดสี การประเมิน Pass/Fail ได้อย่างรวดเร็ว              สำหรับการวัดสีซิตรัสฟรุตหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว จะขอแนะนำเป็นเครื่องวัดสี  Konica Minolta Chroma Meter CR-400 series ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารและส่วนผสม…

  • บทความ

    เลือกเครื่องวัดสีอย่างไรให้เหมาะกับงาน ตอนที่ 1

            เครื่องวัดสีคืออะไร? จำเป็นแค่ไหน? ไม่มีได้หรือไม่? หากยังมีคำถามเหล่านี้กวนใจ อยากให้ทุกคนลองทำความรู้จักเครื่องวัดสีเพิ่มอีกสักนิด อาจจะลองกดแท็ก วัดสี เพื่ออ่านบทความที่เครื่องวัดสีช่วยในการวัดสีในแต่ละอุตสาหกรรมได้มากน้อยแค่ไหน           ส่วนคำถามว่า จำเป็นแค่ไหน เครื่องวัดสีเป็นเหมือนเครื่องวัดชนิดหนึ่ง แต่มีความพิเศษด้วยเทคโนโลยี ช่วยวัดค่าสีที่ให้ค่าในระบบค่าสีที่ใช้สากลได้ คำว่าสากลนี้ หมายถึง เราสามารถสื่อสารหรือบอกรายละเอียดของสีได้กับทุกคนที่ใช้ระบบสีเดียวกัน (ระบบหน่วยสี L*a*b* คือหน่วยที่ความนิยมใช้อย่างกว้างขวาง) นอกจากความสะดวกในการสื่อสารแล้ว (อ่านบทความเกี่ยวข้อง ทำไมต้องใช้เครื่องวัดสี) แล้วไม่มีเครื่องวัดสีได้ไหม อยากใช้สายตาในการประเมินค่าสีก็สมารถทำได้ หากสามารถควบคุมปัจจัยที่ส่งผลต่อการอ่านค่าสีด้วยสายได้ ( อ่านบทความเกี่ยวข้อง แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินสีด้วยสายตา)           โดยส่วนใหญ่เมื่อใช้สายตาวัดสี มักจะใช้ ตู้เทียบสี เพื่อควบคุมแหล่งแสง และ ใช้ pantone เป็นการระบุค่าสี ซึ่งค่าที่ได้ก็จะไม่ใช่ค่าจริงๆของสีตัวอย่าง  และบางคนที่ต้องการปรับแก้ไขค่าสีในงาน R&D อาจจะมีการใช้ปรแกรมต่างๆเพิ่มเข้ามา แต่ข้อควรระวังสำหรับวิธีนี้ นอกจากการควบคุมตัวแปรที่ส่งผลต่อการวัดสีด้วยสายตาแล้ว อีกปัจจัยที่ต้องระวังคือ แผ่นpantone นั้นมีอายุการใช้งานเมื่อเวลาผ่านไป สีจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาโดยที่สายตาไม่สามารถแยกแยะได้ทำให้ต้องเปลี่ยนใหม่เสมอ…

  • กิจกกรรม

    บรรยายทางออนไลน์“การถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม ในการวิจัยพืชและการเกษตร”

                  ด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนามาอย่างต่อเนื่องของเครื่องมือต่างๆ เพื่อเป็นตัวช่วยที่สำคัญของนักวิจัย ในครั้้งนี้บริษัท เซ็นเทเซีย จำกัด อยากนำเสนอ กล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral Camera รุ่น Specim IQ โดยบรรยายผ่าน Zoom เพื่อความสะดวกทั้งเวลาและสถานที่และเหมาะกับสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยประเด็นหลักของการบรรยายคือ หลักการทำงานเบื้องต้นของเครื่องมือในการวัดวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร อาหารแปรรูป และเนื้อสัตว์  สนใจติดต่อเพื่อเข้าฟังบรรยาย https://lin.ee/6cpcTtD  บทความที่เกี่ยวข้อง กล้องไฮเปอร์สเปกตรัม SPECIM IQ การประเมินคุณภาพเนื้อสัตว์ด้วยภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตรัม กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมบันทึกข้อมูลได้อย่างไร การถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม ในการวิจัยพืชและการเกษตร การวัดปริมาณคลอโรฟิลล์อย่างแม่นยำด้วยการถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม การตรวจสอบคุณภาพของผักและผลไม้ด้วยการถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม การถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม ภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตัมคืออะไร     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา      ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected] เบอร์ 02-361-3730  Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน QR code ด้านข้างนี้ค่ะ สามารถติดตามช่องYoutubeของเราเพื่อรับชมวิดีโอการสาธิตเครื่องมือ และการแนะนำการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเครื่องวัดสี

  • บทความ

    ใหม่!! เครื่องวัดแสงและจอแสดงผลด้วยเทคโนโลยีภาพถ่ายความละเอียดสูง

             เป็นเวลากว่า 25 ปีแล้วที่ Radiant Vision Systems ได้ผลิตเครื่องวัดแสง ProMetric® Imaging Colorimeters & Photometers ที่มีประสิทธิภาพการวัดแสงด้วยเทคโนโลยีการถ่ายภาพในระดับชั้นนำ ของอุตสาหกรรมสำหรับการทดสอบและการวัดชิ้นงานต่างๆที่ให้แสงสว่างได้      และในบทความนี้ เราจะขอแนะนำเครื่องวัดแสงรุ่นใหม่ ที่พัฒนาให้มีความละเอียดสูงถึง 61 เมกะพิกเซล สามารถตรวจับข้อมูลได้หลายล้านจุดต่อการวัดในหนึ่งครั้ง เพิ่มความเที่ยงตรงสูงสุด (Precision) เพิ่มความแม่นยำในการวัด (Accuracy) เพิ่มช่วงไดนามิกสูงสุดที่ 76 dB ยังคงความรวดเร็วในการวัด (เร็วถึง 0.5 วินาทีต่อการวัดหนึ่งครั้ง)  ProMetric I61 (61-megapixel ) Imaging Colorimeter ProMetric Y61 (61-megapixel)Imaging Photometer ProMetric Y45 (45-megapixel)Imaging Photometer MEASUREMENT CAPABILITIES : ความสามารถของเครื่อง COLORIMETRIC(adds color capabilities) CIE Chromaticity…

  • กิจกกรรม,  คอร์สออนไลน์

    สัมมนาออนไลน์ความรู้พื้นฐานสำหรับการวัดแสงและสีของแสง

    ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนาออนไลน์ เรื่องความรู้พื้นฐานสำหรับการวัดแสงและสีของแสง24 กันยายน 2564 เวลา 14:00 น. – 15:30 น.  ซึ่งจัดโดย ทีม IIE&Service จาก บริษัท เซ็นเทเซีย จำกัด มีหัวข้อบรรยายดังนี้ ทฤษฎีแสง  แสงคืออะไร การกระจายตัวของพลังงานสเปกตรัมแสง การวัดการแผ่รังสี vs การวัดแสง มาตรวิทยาพื้นฐานในการวัดแสง Luminous Flux Luminous Intensity Luminance Illuminance คุณสมบัติทางสีของแสง Tristimulus Colorimetry Color Temperature Helmholtz Coordinates Spectroradiometric Measurement เครื่องมือวัดแสงและสีของแสง การสัมมนานี้เป็นกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมทุกท่าน สามารถเข้าร่วมได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ บรรยายผ่าน Microsft team ลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันนี้ คลิกที่นี้เพื่อลงทะเบียนฟรี      หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา      ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่ ได้ที่อีเมล [email protected] เบอร์ 02-361-3730  Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน…

  • บทความ

    กล้องไฮเปอร์สเปกตรัม SPECIM IQ

                   กล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI)  เป็นเครื่องมือที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการตรวจสอบ พืชผล พืชพรรณ หรือ ผักในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ข้อมูลพื้นฐาน เช่น สรีรวิทยา โครงสร้าง หรือชีวเคมีของพืช สามารถตรวจวัดได้โดยไม่ทำลายตัวอย่าง ในช่วงเวลาต่างๆ ด้วยกล้องถ่ายภาพ HSI ตัวอย่างเช่น สามารถใช้ตรวจสอบความเครียดของพืชในกระบวนการฟีโนไทป์หรือรูปแบบการเกษตรที่นำเอาเทคโนโลยีและการจัดการข้อมูลมาใช้ภายในฟาร์ม กระบวนการวัดและการใช้งานกล้อง HSI ส่วนมากค่อนข้างซับซ้อน ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีความต้องการกล้อง HSI ที่ใช้งานง่ายเพิ่มขึ้น              ขอแนะนำ Specim IQ ซึ่งเป็นกล้องไฮเปอร์สเปกตรัมแบบใช้มือถือที่ออกแบบมาเพื่อให้ตรงกับความต้องการที่ทันสมัยของเทคโนโลยี HSI กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมแบบออลอินวันใช้เทคโนโลยี push-broom (สแกนเชิงเส้น) Specim IQ มาพร้อมกับการใช้งานบนกราฟิกที่เรียบง่าย ซึ่งให้ผลการวัดและข้อมูลเชิงลึกได้ทันทีโดยไม่ต้องใช้โมเดลการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนหรือทักษะการประมวลผลขั้นสูง กระบวนการจัดการข้อมูลพื้นฐานและการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น ขั้นตอนก่อนการประมวลผลและการจัดหมวดหมู่ สามารถใช้ได้จากซอฟต์แวร์ภายในกล้องได้     หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา   …