• บทความ

    การวัดสีส่วนประกอบต่างๆภายในรถยนต์

              การตกแต่งภายในของรถ เป็นอีกปัจจัยในการเลือกซื้อรถยนต์และเนื่องจากความคาดหวังของลูกค้าและการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ภายในของรถประกอบด้วยส่วนประกอบหลายอย่างตั้งแต่คอนโซลกลางและแผงหน้าปัดไปจนถึงขอบประตูและที่นั่ง สีและรูปลักษณ์ของส่วนประกอบเหล่านี้ต้องเข้ากันได้อย่างกลมกลืน เพื่อให้ได้ภายในรถที่สวยงามน่าดึงดูดใจมากที่สุด แต่เมื่อมีส่วนประกอบหลายชิ้นมาประกอบกัน อาจจะเกิดความแตกต่างของสีระหว่างส่วนประกอบต่างๆขึ้นมา เนื่องจากความแตกต่างในวัสดุ, สารให้สีและกระบวนการขึ้นรูป เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสีของส่วนประกอบต่างๆภายในรถยนต์มีความกลมกลืนกัน ผู้ผลิตจำเป็นต้องมีการตรวจสอบส่วนประกอบทั้งหมดนี้ การตรวจสอบส่วนประกอบต่างๆ ภายในรถยนต์ สิ่งที่ลูกค้าจะมองเห็นสิ่งแรกนั่นคือ ”สี”  ในทางอุตสาหกรรม เราไม่แนะนำให้ใช้สายตาประเมินสี เนื่องจากมหลายๆปัจจัยที่ต้องควบคุมไม่ให้ส่งผลต่อการประเมินค่าสีด้วยสายตา (เราอยากแนะนำให้คุณอ่านบทความเรื่อง สภาพวะต่างๆที่มีผลต่อการปรากฏของสี  เพื่อให้เข้าใจปัจจัยที่มีผลในการประเมินสีด้วยสายตา คลิกอ่านที่นี้)        นอกจากเรื่องปัจจัยที่ต้องควบคุมแล้วยังมีเรื่องของจำนวนตัวอย่างและเวลาประเมินสีของส่วนประกอบต่างๆในรถยนต์ เราอยากแนะนำเป็นเครื่องวัดสีที่สามารถวัดสีได้แม่นยำและรวดเร็ว เครื่องวัดสีจะช่วยควบคุมปัจจัยที่ส่งผลต่อการประเมินสีต่างๆได้เป็นอย่างดี การใช้เครื่องมือวัดสีและปริภูมิสี CIE L*a*b* กำหนดสีเป้าหมายหลักและรวบรวมตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายกัน จากนั้นวัดตัวอย่างและใช้ค่า L*a*b* เพื่อสร้างขีดจำกัดความคลาดเคลื่อนของสี เพื่อการตรวจสอบสีที่ง่ายและรวดเร็ว นอกจากสีแล้วการวัดความเงาก็มีความสำคัญเช่นกัน           ส่วนประกอบต่างๆภายในรถยนต์มีค่า L*a*b* ใกล้เคียงกัน แต่พื้นผิวของส่วนประกอบต่างๆอาจมีลักษณะแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น เฉดสีของส่วนประกอบภายในรถยนต์ที่มีผิวเคลือบมันจะมีสีเข้มมากกว่าส่วนที่ไม่ได้เคลือบเงา ซึ่งความแตกต่างนี้จะสังเกตุได้ชัดเจน แม้ว่าค่า L*a*b* ใกล้เคียงกัน ในทางอุตสาหกรรมการตรวจสอบที่แม่นยำ ถูกต้องและรวดเร็วเป็นสิ่งที่จำเป็นมาก ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องวัดสีที่พัฒนาประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการที่ตัวเครื่องวัดสีสามารถวัดได้ทั้งสีและความเงาของตัวอย่างในการกดวัดแค่ครั้งเดียว สำหรับงานวัดสีส่วนต่างๆภายในรถยนต์เราขอแนะนำเครื่องวัดสี Spectrophotometer…

  • บทความ,  หนังสือ

    การสื่อสารสีอย่างแม่นยำ (Precise Color Communication) ส่วนที่ 1.2

              หากมองรอบๆตัว สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา ล้วนมีสีที่แตกต่างและหลากหลาย แม้ว่าเราจะมองสีที่เหมือนกันแต่การที่เราจะอธิบายสีให้อีกคนฟังแล้วนึกภาพสีเป็นสีเดียวกับสีที่เรามองเห็นนั้นเป็นเรื่องที่ยากมากๆ เนื่องจากสีต่างจากความยาวหรือน้ำหนักตรงที่ ไม่มีมาตราส่วนทางกายภาพสำหรับการวัดสี ทำให้ไม่น่าเป็นไปได้ที่ทุกคนจะตอบแบบเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ถ้าเราพูดถึงผู้คนว่า “ทะเลสีฟ้า” หรือ “ท้องฟ้าสีฟ้า” แต่ละคนจะจินตนาการถึงสีฟ้าที่แตกต่างกัน เพราะประสบการณ์การจดจำสีหรือการเรียนรู้สีแต่ละสี แต่ละเฉดสีที่ผ่านมาจะแตกต่างกัน นี่คือปัญหาของสื่อสารสี ลองมาเริ่มทำความเข้าใจในแต่ละประเด็น (ข้อมูลเนื้อหานี้เราได้มาจากหนังสือ Precise Color Communication จาก Konica Minolta มีการปรับคำหรือยกตัวอย่างที่แตกต่างเพื่อให้อ่านง่ายมากขึ้น หากต้องการอ่านต้นฉบับสามารถ คลิกที่ลิ้งค์นี้ ) เราขอแนะนำให้อ่านตามหัวข้อเหล่านี้ทั้งหมด หนังสือเล่มนี้แบ่งเป็น 4 ส่วน สำหรับส่วนที่ 1 มีหัวข้อดังนี้ แอปเปิ้ลนี้สีอะไร? สภาพวะต่างๆที่มีผลต่อการปรากฏของสี สองลูกสีแดง คุณจะอธิบายความแตกต่างระหว่างสีของพวกเขากับใครบางคนอย่างไร โลกของสีประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ : สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว สร้างแบบจำลองสีด้วย สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว เราสามารถวัดสีเป็นตัวเลขได้ด้วยการสร้างสเกล สีสัน ความสว่าง และความอิ่มตัว ปริภูมิสี มาวัดสีต่างๆ…

  • บทความ,  หนังสือ

    การสื่อสารสีอย่างแม่นยำ (Precise Color Communication) ส่วนที่ 1.1

              หากมองรอบๆตัว สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา ล้วนมีสีที่แตกต่างและหลากหลาย แม้ว่าเราจะมองสีที่เหมือนกันแต่การที่เราจะอธิบายสีให้อีกคนฟังแล้วนึกภาพสีเป็นสีเดียวกับสีที่เรามองเห็นนั้นเป็นเรื่องที่ยากมากๆ เนื่องจากสีต่างจากความยาวหรือน้ำหนักตรงที่ ไม่มีมาตราส่วนทางกายภาพสำหรับการวัดสี ทำให้ไม่น่าเป็นไปได้ที่ทุกคนจะตอบแบบเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ถ้าเราพูดถึงผู้คนว่า “ทะเลสีฟ้า” หรือ “ท้องฟ้าสีฟ้า” แต่ละคนจะจินตนาการถึงสีฟ้าที่แตกต่างกัน เพราะประสบการณ์การจดจำสีหรือการเรียนรู้สีแต่ละสี แต่ละเฉดสีที่ผ่านมาจะแตกต่างกัน นี่คือปัญหาของสื่อสารสี ลองมาเริ่มทำความเข้าใจในแต่ละประเด็น (ข้อมูลเนื้อหานี้เราได้มาจากหนังสือ Precise Color Communication จาก Konica Minolta มีการปรับคำหรือยกตัวอย่างที่แตกต่างเพื่อให้อ่านง่ายมากขึ้น หากต้องการอ่านต้นฉบับสามารถ คลิกที่ลิ้งค์นี้ ) เราขอแนะนำให้อ่านตามหัวข้อเหล่านี้ทั้งหมด หนังสือเล่มนี้แบ่งเป็น 4 ส่วน  สำหรับส่วนที่ 1 มีหัวข้อดังนี้ แอปเปิ้ลนี้สีอะไร? สภาพวะต่างๆที่มีผลต่อการปรากฏของสี สองลูกสีแดง คุณจะอธิบายความแตกต่างระหว่างสีของพวกเขากับใครบางคนอย่างไร โลกของสีประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ : สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว สร้างแบบจำลองสีด้วย สีสัน ความสว่าง ความอิ่มตัว เราสามารถวัดสีเป็นตัวเลขได้ด้วยการสร้างสเกล สีสัน ความสว่าง และความอิ่มตัว  ปริภูมิสี มาวัดสีต่างๆ…

  • บทความ

    การทดสอบประสิทธิภาพ Head-Up Display ตามมาตรฐานสากล

    Head-Up Display: HUD คืออะไร HUD คือ จอแสดงผลที่ใช้เทคโนโลยีการฉายภาพหรือข้อมูลในรูปแบบกึ่งโปร่งใสลงบนกระจก ซึ่งจะช่วยให้ผู้ขับขี่ไม่จำเป็นต้องละสายตาออกจากท้องถนน HUD จึงเป็นระบบที่จะช่วยเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่ให้มากยิ่งขึ้น การทำงานของ HUD จะประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คือ Projector Unit ระบบฉายภาพ Combiner ปัจจุบันมีที่ใช้กันอยู่ 2 รูปแบบ คือ “Combiner HUD” แผ่นกระจกที่วางด้วยหน้าผู้ขับขี่ และ “Windshield HUD” กระจกหน้ารถ Video Pattern Generator ระบบสร้างภาพและข้อมูล  ปัจจุบันมีมาตรฐานสากลที่ใช้สำหรับการทดสอบประสิทธิภาพของ HUD คือ SAE J1757-2 : Optical System HUD for Automotive มาตรฐานนี้ระบุถึงวิธีการในการวัดเพื่อประเมินประสิทธิภาพการมองเห็นของ HUD ภายใต้สภาวะแสงแวดล้อมตามการใช้งานทั่วไป และยังครอบคลุมถึงการวัดประเมินภายในอาคารโดยมีการจำลองแสงจากภายนอกอีกด้วย ในมาตรฐานนี้ยังครอบคลุมการประเมินประสิทธิภาพของ HUD ทั้ง 2 รูปแบบ คือ Windshield HUD และ Combiner…

  • บทความ

    ชุดโกโกวา สีเพี้ยนรึเปล่า ? เช็คยังไงนะ ?

       มาแล้วลูกจ๋า ชุดโกโกวาที่หนูอยากได้ โกโกวาที่หนูอยากใส่ โก โกวาคิมิซึนิดา (เนื้อเพลง ชุดโกโกวา Tongtang Family TV)            ในเวลานี้หลายๆคนคงกำลังมองหาชุดโกโกวาสักชุดมาใส่เพื่อไม่ให้ตกเทรนด์กัน ซึ่งสีของชุดก็มีความสำคัญ คงไม่มีใครอยากได้ชุดที่สีเพี้ยนไป หรือสีที่ไม่สม่ำเสมอใช่ไหมคะ การวัดสีเสื้อผ้าสามารถวัดสีเสื้อผ้าทั้งที่ตัดเย็บเสร็จแล้ว โดยนำเครื่องวัดสีวัดสีที่ชุดได้เลย ไม่จำเป็นต้องตัดชิ้นตัวอย่าง ทำให้ไม่ทำลายเนื้อผ้า หรือหากต้องการวัดสีตั้งแต่ชิ้นงานที่เป็นเส้นใย รายละเอียดวิธีการเตรียมตัวอย่างสำหรับการวัดสีของสิ่งทอ เส้นใย สามารถอ่านที่ลิ้งค์นี้คลิก เครื่องวัดสีสำหรับการวัดเส้นใย เสื้อผ้า ในบทความจะมีเครื่องวัดสีรุ่นที่จะแนะนำเพื่อช่วยเป็นแนวทางในการตัดสินใจเลือกเครื่องวัดสีที่เหมาะกับตัวอย่างของคุณมากที่สุด            ขอแนะนำเครื่องวัดสีรุ่นใหม่ล่าสุดจาก Konica Minolta ซึ่งเป็นเครื่องวัดสีแบบ Spectrophotometer รุ่น CM-26dG มีค่า inter- inter-instrument agreement (IIA) ที่ dE*ไม่เกิน 0.12 แล้วค่านี้ ดียังไง ค่านี้จะทำให้มั่นใจค่าสีที่ใช้ร่วมกันระหว่างกัน เช่น designer จากเกาหลีส่งสเปคมาให้โรงงานในไทยก็วัดค่าสีได้เหมือนกัน ตัวเครื่องวัดสี มี view…

  • บทความ

    เรื่องที่ต้องรู้ เมื่อต้องการวัดค่าสีหรือบอกปริมาณสี

               สีเป็นสิ่งที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า หรือการประเมินคุณภาพของสินค้าหรือตรวจสอบคุณภาพ และหลายคนอาจจะยังมีความเข้าใจไม่เพียงพอ บทความนี้เราจะขอแนะนำสิ่งที่จำเป็นต้องรู้ เมื่อต้องการบอกปริมาณสีหรือวัดค่าสี นั่นคือ แหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant) , มาตรฐานการมอง (Observer) 2o หรือ 10o  , มาตรฐานวีธีวัดค่า (Measurement Method) เรามาทำความเข้าใจองค์ประกอบทั้งสามส่วนนี้ โดยเริ่มจาก  แหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant) ว่าแต่ละชนิดหมายถึงแสงลักษณะใด เพื่อให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม   มาตรฐานแหล่งกำเนิดแสง (Light Source – Illuminant)  ชื่อของแหล่งกำเนิด อุณหภูมิของสี (Color Temp : K) คำอธิบาย D65 6504 K CIE Standard Illuminant D65 เป็นตัวแทนของแสงอาทิตย์เฉลี่ยรวมรังสี UV D50 5003 K…

  • บทความ

    เลือกภาชนะใส่ตัวอย่างให้เหมาะกับตัวอย่างสำหรับงานวัดสี

              เครื่องวัดสีเป็นเป็นเครื่องมือวัดที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น ทั้งภาคอุตสาหกรรมหรืองานวิจัยด้านต่างๆ ซึ่งตัวอย่างที่วัดสี ก็มีความหลากหลายยิ่งกว่า ทั้งสถานะและลักษณะทางกายภาพของตัวอย่าง การเลือกใช้ภาชนะใส่ตัวอย่างมีเกณฑ์การเลือกที่สอดคล้องกับการเลือกเครื่องวัดสี          สำรวจลักษณะตัวอย่าง ความโปร่งแสง / ทึบแสง หรือลักษณะตัวอย่างเป็น ของเหลว ของแข็ง รวมไปถึงขนาดของตัวอย่าง ยกตัวอย่างเช่น เม็ดพลาสติก, ผงเครื่องปรุงต่างๆ, แป้ง, ครีม, ซอส, น้ำ หรือของเหลวอื่นๆ ตัวอย่างเหล่านี้จำเป็นต้องวัดผ่านภาชนะใส่ตัวอย่าง เพื่อผลที่ถูกต้องแม่นยำและป้องกันความเสียหายต่อเครื่องวัดสี ในกรณีที่ตัวอย่างหกหรือล่วงหล่น เข้าไปภายในตัวเครื่องวัดสี ในปัจจุบันอาจจะมีหลายท่านที่ใช้ ถุงพลาสติกใส่ตัวอย่างแล้ววัดสีตัวอย่างผ่านถุงพลาสติกนั้น แม้จะสามารถทำได้แต่เป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมเท่าไรนัก หากต้องการค่าสีที่ถูกต้องแม่นยำ เนื่องจากถุงพลาสติกแต่ละชิ้น มีความหนา ความใส หรือแม้แต่เฉดสีต่างกัน หากกำลังคิดว่า “งั้นก็ใช้ถุงจากห่อเดียวกัน lotผลิตเดียวกัน” แต่ถุงเหล่านั้นเป็นสิ่งที่ใช้แล้วทิ้ง เมื่อหมดถุงเหล่านั้นก็ไม่ได้เหมือนกัน หากจะทำความสะอาดล้างถุง แน่นอนว่าคราบหรือรอยของถุงจะเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการวัดอย่างแน่นอน         หากไม่ใช้พลาสติก ส่วนใหญ่จะนิยมใส่ใน Petri dish หรือ Glass…

  • บทความ

    เครื่องวัดสีช่วยเช็คความบริสุทธิ์ในของเหลวได้ อย่างไร

             บทความนี้ขอยกตัวอย่างวงการเภสัชกรรมเพื่อให้เห็นภาพชัด ในวงการเภสัชกรรมที่จำเป็นต้องมีการประเมินสารประกอบของยาเหลวและตรวจหาสิ่งเจือปน ในแต่ละขั้นตอนแน่นอนว่าผลที่ได้ต้องแม่นยำและถูกต้อง หากใช้สายตาในการประเมินสีของของเหลว นอกจากจำเป็นจะต้องใช้คนที่มีประสบการณ์สูงในการประเมินสีแต่วิธีนี้มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการประเมินสีมาก (อ่านปัจจัยในการประเมินสีด้วยสายตา) ในหลายๆที่หันมาใช้เครื่องวัดสีเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการประเมินสีเพื่อเช็คความบริสุทธิ์ในของเหลว เนื่องจากมีความแม่นยำ ถูกต้อง และรวดเร็วมากกว่า การใช้สายตาประเมินสี         นอกจากเครื่องวัดสีแล้ว ดัชนี APHA คิดค้นโดยนักเคมีชื่อ A. Hazen ในปี 1892 ซึ่งเป็นที่นิยมนำมาใช้ในประเมินความบริสุทธิ์ของของเหลว ในปัจจุบัน หลายอุตสาหกรรม รวมถึงเภสัชกรรม เคมี ปิโตรเลียม ใช้เครื่องวัดสีและใช้ดัชนี APHA เป็นแนวทางและมาตรวัดสี         ดัชนี APHA หรือเรียกอีกอย่างว่าสเกล Hazen หรือ Platinum Cobalt (Pt/Co) เป็นสเกลสีตัวเลขเดียวที่มีตั้งแต่ 0 (ไม่มีสีชัดเจน) ถึง 500 (สีเหลืองอ่อน) ซึ่งเดิมทีได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นการประเมินคุณภาพน้ำด้วยการประเมินด้วยสายตาโดยเปรียบเทียบกับการเจือจางของสารละลายมาตรฐานทองคำขาว – โคบอลต์   อ่านเพิ่มเติม การใช้…

  • บทความ

    การวัดพื้นผิวของแม่พิมพ์ (Injection Molding)

                พื้นผิวของพลาสติก เป็นเกณฑ์สำคัญอย่างหนึ่งในการคัดแยกคุณภาพ  ความสม่ำเสมอของพื้นผิวควรควบคุมตั้งแต่ขั้นตอนตอนการฉีดขึ้นรูป ซึ่งพลาสติกควรเป็นเนื้อเดียวกันหลังจากขึ้นรูป ไม่มีแถบมันวาวและหมองคล้ำที่มองเห็นได้บนพื้นผิว ซึ่งจะทำให้เกิดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์ต่อพื้นผิวของเครื่องมือขึ้นรูป พื้นผิวของแม่พิมพ์และพื้นผิวแกน มีผลต่อคุณภาพพื้นผิวของชิ้นส่วนพลาสติกขึ้นรูป เนื้อสัมผัสของแม่พิมพ์สามารถวัดปริมาณได้ด้วยความมันวาว โดยที่ค่าความเงาสูงจะแสดงถึงพื้นผิวที่เรียบ เนื่องจากแม่พิมพ์มีรูปร่างและขนาดต่างๆ การใช้เครื่องวัดความมันวาวแบบธรรมดาจึงไม่เหมาะ เนื่องจากส่วนใหญ่ออกแบบมาเพื่อวัดพื้นผิวขนาดใหญ่และเรียบ หากจะให้เราแนะนำเครื่องวัดความเงาที่เหมาะกับการวัดความมันวาวของแม่พิมพ์ (Injection Molding) เราขอแนะนำเครื่องวัดความเงา Novo-Gloss Flex 60 จากแบรนด์ Rhopoint สามารถวัดความเงาในพื้นที่ขนาดเล็กของแม่พิมพ์และพื้นผิวแกน ซึ่งไม่สามารถวัดด้วยเครื่องวัดความเงาแบบเดิมได้ ตัวปรับต่อของหัววัดทำจากพลาสติก เหมาะสำหรับเครื่องมือขึ้นรูปพื้นผิวที่ไวต่อการขีดข่วนNovo-Gloss Flex 60 มีตัวปรับต่อการวัดแบบเปลี่ยนได้: ตัวต่อมาตรฐานและตัวปรับต่อพื้นผิวเหล็กสำหรับวัสดุที่เป็นเหล็ก นอกจากนี้ยังมีช่วงการวัดเพิ่มเติมของ GUh ที่มีความละเอียดสูงขึ้นเพื่อวัดพื้นผิวที่มีความมันเงาต่ำ (0-12 GU) Novo-Gloss Flex 60 Model Rhopoint Novo-Gloss FLEX 60 Measuring Geometry 60° – Universal angle – all gloss levels Gloss…

  • บทความ

    ทำความรู้จัก Zero calibration box

                Zero calibration box อุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบเทียบเครื่องวัดสี ซึ่งโดยปกติแล้วเครื่องวัดสีจำเป็นต้องการสอบเทียบก่อนการใช้งานทุกครั้ง เพื่อเตรียมเครื่องให้พร้อมสำหรับการใช้งาน ซึ่งการสอบเทียบก่อนการใช้งานเป็นการสอบเทียบเป็นการสอบเทียบรายวันที่ผู้ใช้งานสามารถทำได้ด้วยตัวเอง โดยทำการสอบเทียบด้วย White calibration plate และ Zero calibration box (อ่านความแตกต่างระหว่างการสอบเทียบรายวันและการสอบเทียบประจำปี คลิกที่นี้) ทำไมการสอบเทียบก่อนใช้งานจึงจำเป็น เนื่องจากสภาพแวดล้อมโดยรอบที่เครื่องติดตั้งอยู่ รวมถึงอุณหภูมิและความชื้นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดในแต่ละวัน การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการวัดของเครื่อง ดังนั้นการสอบเทียบก่อนการใช้งานจึงเป็นการเตรียมพร้อมให้เครื่องวัดสีกลับสู่สภาพการทำงานที่เหมาะสม และจะให้การวัดได้ค่าที่สม่ำเสมอ หากไม่มี Zero calibration box ต้องทำอย่างไร เมื่อการสอบเทียบเป็นเรื่องที่จำเป็น อุปกรณ์ที่ใช้สอบเทียบจึงจำเป็นเช่นกัน แต่หากไม่มี Zero calibration box สามารถทำ zero calibration โดยมีหันรูรับแสงไปในทิศทางที่ไม่มีสิงกีดขวางในระยะ 1 เมตร, ไม่หันเข้าหาแหล่งกำเนิดแสง เช่นหลอดไฟ, จอมอนิเตอร์ และกระจก   ปัจจุบันทีมเซอร์วิสของเราพบว่าผู้ใช้งานเครื่องวัดสีส่วนใหญ่ทำสอบเทียบ zero calibration ผิดวิธี อาจจะเกิดมาจากพื้นที่การทำงานไม่เหมาะกับการทำ zero calibration เช่น อาจจะมีสิ่งขีดขวางในระยะ…