เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 ที่ผ่านมานี้ ทาง Centasia ซึ่งมีคุณศุภฤกษ์และคุณภัทรินทร์ ร่วมกับ Konica Minolta โดยมีคุณ Kosuke Inakazu ได้มีโอกาสเข้าไปสาธิตการใช้งานเครื่อง SPECIM IQ ที่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
การสาธิตในครั้งนี้ใช้ Specim IQ ซึ่งเป็นกล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI) ถ่ายให้เห็นภาพรวมของใบพืช เพื่อตรวจสอบความเขียวของใบพืช โรคพืช อีกทั้งยังสามารถเขียนค่าสัมพันธ์กับค่า SPAD ได้ หากคุณสนใจให้เรานำให้เรานำกล้องถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม Hyperspectral imaging (HSI) อย่างเครื่อง Specim IQ ไปสาธิตกับงานวิจัยของคุณ สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางติดต่อด้านล่างค่ะ
ภาพด้านล่างนี้เป็นภาพบรรยากาศการสาธิต ซึ่งทีมงานของเราต้องขอขอบคุณอาจารย์ นักศึกษา ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ให้ความสนใจและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
เพื่อให้รู้จัก SPECIM IQ มากขึ้น ลองอ่านบทความเหล่านี้
- กล้องไฮเปอร์สเปกตรัม SPECIM IQ
- การประเมินคุณภาพเนื้อสัตว์ด้วยภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตรัม
- กล้องไฮเปอร์สเปกตรัมบันทึกข้อมูลได้อย่างไร
- การถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม ในการวิจัยพืชและการเกษตร
- การวัดปริมาณคลอโรฟิลล์อย่างแม่นยำด้วยการถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม
- การตรวจสอบคุณภาพของผักและผลไม้ด้วยการถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม
- การถ่ายภาพไฮเปอร์สเปกตรัม
- ภาพถ่ายไฮเปอร์สเปกตัมคืออะไร
เราเคยมีการจัดการบรรยายเกี่ยวกับ SPECIM IQ โดยบริษัท Spectral Imaging Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิต SPECIM IQ คุณสามารถดูบันทึกการบรรยายทั้งหมดได้ฟรี คลิกที่นี้
หากต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาและกระบวนการจัดการสีและแสงของคุณหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญด้านสีและแสงของเรา
ให้เราช่วยคุณในการเลือกวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับความต้องการในการวัดของคุณสามารถติดต่อเพื่อข้อมูลหรือคำแนะในการกำหนดขั้นตอนการวัดค่าสีและแสงเพิ่มเติมได้ที่
ได้ที่อีเมล [email protected]
เบอร์ 02-361-3730
Line : https://lin.ee/6cpcTtD หรือสแกน QR code ด้านข้างนี้ค่ะ
สามารถติดตามช่องYoutubeของเราเพื่อรับชมวิดีโอการสาธิตเครื่องมือ และการแนะนำการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเครื่องวัดสี